บริการใหม่จากเรา

AI Voice Bot

ช่วยลดงาน Call Center

เอไอบอทอัจฉริยะ สนทนาด้วยเสียง ทำงานตลอด 24 ชม. ลูกค้าไม่ต้องรอนาน ตอบคำถามแม่นยำ เพิ่มประสิทธิภาพงาน Call Center

Dashboard

Dashboard เป็นหน้าสรุปสถิติการใช้งานแชทบอท โดยจะประกอบด้วย


  1. Date range โดยสามารถเลือกดูข้อมูลได้ 3 ช่วงเวลา คือ

    • 7 day เป็นสถิติรายสัปดาห์ โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 7 วันก่อนหน้า

    • 30 day เป็นสถิติรายเดือน โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 30 วันก่อนหน้า

    • 365 day เป็นสถิติรายปี โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 365 วันก่อนหน้า

  2. Total Users คือ สถิติจำนวนผู้ใช้งานทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

    เคล็ดลับ: จำนวนเปอร์เซ็นต์ % เป็นการเปรียบเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้า ตามช่วงเวลาที่เลือก (7 วันก่อนหน้า, 30 วันก่อนหน้า, 365 วันก่อนหน้า)

  3. Total Messages คือสิถิติจำนวนข้อความที่แชทบอทตอบออกไปทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

  4. Active Users คือสถิติจำนวนคนที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเฉพาะในช่วงเวลาที่เลือก แบ่งเป็น

    • New User คือ ผู้ใช้งานที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเป็นครั้งแรก

    • User Retention คือ ผู้ใช้งานที่เคยเข้ามาคุยกับแชทบอทแล้วกลับมาใช้อีก

  5. Incoming Message คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานส่งเข้ามาแชทกับบอท แบ่งเป็น

    • Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทสามารถตอบได้

    • Non Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทไม่สามารถตอบได้ (Default Fallback)

    • Agent Call Messages คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานต้องการคุยกับเจ้าหน้าที่

  1. User Statistics คือสถิติจำนวนผู้ใช้งานแชทบอทรูปแบบกราฟ

  1. Total Intents คือจำนวนรวมครั้งที่ intent ถูกเรียกใช้ไปตอบผู้ใช้

  2. ตาราง intent แสดงรายการ intent ที่ถูกเรียกออกไปตอบ โดยจะเรียงลำดับ จากจำนวนมากขึ้นก่อน โดยจะแสดงผลจำนวนหน้าละ 5 intent แบ่งเป็น

  • Intent name คือชื่อ intent

  • Total คือจำนวนครั้งที่ intent ถูกเรียกออกไปตอบ

  • Ratio คือสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่ intent นั้นถูกเรียกออกไปเทียบกับจำนวน การเรียก intent ทั้งหมด

Train Bot

Train Bot เป็น ส่วนสำคัญในการสร้างแชทบอท เพราะเป็นส่วนที่ใช้สำหรับการตั้งค่าคำตอบของบอทกับคำถามของผู้ใช้งานแชทบอทให้สัมพันธ์กัน ส่วนประกอบของรายการของ Intent มีดังนี้

  1. Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  2. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  3. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

เราสามารถตั้งค่า Default Fallback ได้ดังนี้

a. Bot Response คือ ตั้งค่าคำตอบที่อยากให้บอทตอบออกไปเมื่อไม่เข้าใจประโยค คือเมื่อระบบพบค่าความมั่นใจ % ต่ำกว่าที่ตั้งไว้

b. Confident คือ ตั้งค่าความมั่นใจที่ต้องการให้บอทตอบ ยิ่งใกล้ 100% เท่าไหร่ หมายความว่าผู้ใช้จะต้องพิมพ์ประโยคที่มีความแม่นยำหรือตรงกับข้อมูลที่เราได้สอนบอทไว้มากเท่านั้น

ตัวอย่าง Default Message คือ Sorry I don't understand และ ค่า Default Confident เท่ากับ 65%


ตั้งค่า Bot Response ไว้ว่า Sorry I don't understand และ ค่า Confident เท่ากับ 65% ความหมายเมื่อ ข้อความที่ผู้ใช้ส่งมา มีค่า Confident มากกว่า 65% = บอทจะตอบ ด้วย Bot Response ของ Intent นั้นๆ ที่บอทมีความมั่นใจ แต่เมื่อ ข้อความที่ผู้ใช้ส่งมา มีค่า Confident น้อยกว่า 65% = บอทจะตอบด้วย Bot Response ว่า Sorry I don't understand ที่เราตั้งไว้ใน Default Fallback


  1. Chitchat หมดคุยเล่นสำหรับเทรนบอทด้วยประโยค ถามตอบ แบบ 1-1 เพราะบางที สิ่งที่พิมพ์เข้ามา มันเฉพาะเจาะจงเกินไป เราไม่รู้จะจัดกลุ่มประโยคแบบไหน เช่น “อยากไปอยู่บนดาวอังคารมั้ย” เราก็ไมจำเป็นต้องสร้าง Intent เราสามารถสอนแชทบอท ได้เลยว่า ถ้าเจอประโยคนี้ให้ตอบว่า “ไปด้วยกันไหม”สำหรับการสอนบอทในส่วนของ Chitchat ให้ไปที่ส่วน Trained ซึ่งเราสามารถเลือกสอนบอทได้ด้วยกัน 2 โหมด

a. Train โหมดนี้ระบบจะซุ่มคำถามขึ้นมาจากส่วน Untrained ด่านล่าง โดยเรา สามารถสอนบอทได้ด้วยการใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบลงที่ช่อง Enter Bot Response และกดที่ปุ่ม Train เพื่อเป็นการบันทึกคำตอบ หรือกดปุ่ม Skip เพื่อข้ามไปยังประโยคถัดไป


b. New โหมดนี้เราจะต้องคิดคำถามขึ้นมาเอง โดยสามารถใส่คำถามลงที่ช่อง Enter Phrase และใส่คำตอบของบอทลงที่ช่อง Enter Bot Response และกดที่ปุ่ม Train เพื่อเป็นการบันทึกคำตอบ


  1. Intent (IN) สำหรับการสร้างหมวดหมู่เพื่อใช้สอนข้อความที่มีความหมาย เดียวกันแต่เขียนต่างกัน ไว้ด้วยกัน เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ ตัวอย่าง Intent ชื่อ ทักทาย ก็จะรวบรวม ประโยคคำทักทาย ต่างๆเอาไว้ เช่น สวัสดี, ดีจ้า, หวัดดี, มอนิ่ง ซึ่งเราสามารถรวมกลุ่มประโยคเหล่านี้ แล้วสร้างชุดคำตอบสำหรับกลุ่มนี้เอาไว้ ที่เดียว เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการในทีเดียว

a. +New ปุ่มสำหรับสร้างชุด Intent

b. Intent Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Intent

เคล็ดลับ: Intent ที่ถูกสร้างใหม่จะถูกแสดงในรายการ My Intent ด้านล่าง

เคล็ดลับ: สามารถลบ Intent ได้ด้วยการกดติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อ Intent จากนั้น ระบบจะแสดงปุ่มลบ ขึ้นมาให้กดที่ปุ่ม กดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำ การลบ หรือสามารถเลือกลบ Intent ทั้งหมดพร้อมกันได้ด้วยการติ๊กถูกที่ช่อง All จากนั้นกดที่ปุ่ม Deleteเพื่อทำการลบ

สำหรับการสอนบอทในส่วนของ Intent แบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ การสอนให้ บอทเข้าใจจุดประสงค์ของข้อความที่ผู้ใช้ส่งมา (Expected Phrase) กับ การสอนให้บอทตอบคำถามให้ตรงกับจุดประสงค์นั้นๆ (Bot Response)

c. Expected Phrase สำหรับสอนให้บอทเข้าใจจุดประสงค์ของข้อความที่ผู้ใช้ส่งมา จะสามารถสอนได้ด้วย 2 วิธี คือ

a.ในส่วน Trained สามารถพิมพ์ข้อความที่คาดว่าผู้ใช้จะถามเข้า

มาลงในกล่อง “Enter Phrase” แล้วกดปุ่ม Train เพื่อบันทึก

เคล็ดลับ: ข้อความใน Trained สามารถแก้ไขข้อความได้โดยคลิกที่ไอคอนดินสอหน้าข้อความได้

เคล็ดลับ: และสามารถกดลากย้ายข้อความนั้นๆ เข้าไปในรายการ Intent อื่นๆที่อยู่ใน My Intent ด้านซ้ายมือได้

เคล็ดลับ: สามารถลบข้อมูลใน Trained ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการลบและกดปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ หรือสามารถลบข้อมูลทั้งหมดได้ด้วยการ กดที่ปุ่ม Deleate Trained ด้านซ้าย

a. ในส่วน Untrained ถ้าข้อความที่ผู้ใช้พิมพ์ข้ามาไม่ตรงกับข้อความที่เคยสอนไว้ (Confident น้อยกว่า 100%) แต่มีค่าความมั่นใจ (Confident) มากกว่าที่ตั้งค่าไว้ในการตั้งค่า Default Message ข้อความเหล่านั้นจะถูกแสดงในส่วน Untrained เราสามารถกดคลิกที่ไอคอนบวก เพื่อทำการสอนบอท โดยข้อความที่สอนแล้วจะถูกย้ายขึ้นไปอยู่ในส่วนของ Trained ด้านบน

เคล็ดลับ: ในหน้า Untrained สามารถกดลากข้อความเหล่านั้นลงไปใน Intent อื่นๆ ที่ตั้งอยู่ใน My Intent ที่ด้านซ้ายมือ หรือในส่วน Trained ที่อยู่ด้านบนสุด

เคล็ดลับ: สามารถสอนบอททีละหลายๆคำ ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการสอน แล้วกดปุ่ม Add จะเป็นการสอนที่เดียวพร้อมกันหลายๆคำ

เคล็ดลับ: สามารถลบข้อมูลใน Untrained ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการลบและกดปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ หรือสามารถลบข้อมูลทั้งหมดได้ ด้วยการ กดที่ปุ่ม Deleate Trained ด้านซ้าย

d.Bot Response สำหรับจัดการกับคำตอบของบอท ซึ่งคำตอบของบอทสามารถตอบได้หลายรูปแบบ

a. +New ปุ่มสำหรับสร้างชุดคำตอบของแชทบอท

b. Response ชุดคำตอบของแชทบอท สามารถสร้างชนิดของคำตอบได้หลายแบบ
Existing objects: การเลือกคำตอบในรูปแบบ Object , Intent จากคลังสื่อที่เคยสร้างเอาไว้อยู่แล้ว
Text: การตอบข้อความในรูปแบบตัวอักษร หรือ ข้อความ
Image: การตอบข้อความในรูปแบบภาพ
Carousel: การตอบข้อความในรูปแบบการ์ดหมุนที่มีภาพและปุ่มกด Button: การตอบข้อความในรูปแบบของปุ่มกด Quick Reply: การตอบข้อความในรูปแบบปุ่มกด ที่กดได้ครั้งเดียว Flex Message: การตอบข้อความในรูปแบบที่เรา Custom เองได้ Custom Payload: การตอบข้อความในรูปแบบที่เรา Custom เองได้

เคล็ดลับ: ถ้าต้องการลบชุดคำตอบให้ติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อชุดคำตอบ ระบบจะ แสดงปุ่มลบขึ้นมา ให้กดที่ปุ่ม Delete หรือถ้าต้องการลบชุดคำตอบทั้งหมด ให้ติ๊กที่ช่อง All แล้วกดปุ่ม Delete

เคล็ดลับ: ถ้าต้องการเลือกใช้งานชุดคำตอบให้ติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อชุด คำตอบ ระบบจะแสดงปุ่ม Enable/Disable ขึ้นมา ให้กดที่ปุ่ม 1 ครั้ง สีข้อความจะจางลง หมายความว่า Disable อยู่ บอทจะไม่นำคำตอบชุดนี้ไปตอบ กลับผู้ใช้งานอีก หากต้องการใช้งานชุดคำตอบอีกครั้ง ให้ติ๊กถูกที่ช่อง หน้าชื่อชุดคำตอบ ระบบจะแสดงปุ่ม Enable/Disable ขึ้นมา ให้กดที่ปุ่ม 1 ครั้ง สีข้อความจะเข้มขึ้น หมายความว่า Enable อยู่ บอทจะนำคำตอบชุดนี้ไปตอบกลับผู้ใช้งานอีกครั้ง

e. Import การเพิ่มข้อมูลอีกช่องทางหนึ่งผ่าน Excel เหมาะกับข้อมูลที่มีจำนวนมาก

สามารถ “Download Template” ที่เตรียมเอาไว้ให้ เพื่อให้สามารถนำไปแก้ไขข้อมูลได้ทันที ซึ่งมีทั้งหมด 3 ประเภท

a. Download Intent-Phrase Template สำหรับจัดการกลุ่มคำถามของแต่ละ Intent

a. Intent คือช่องสำหรับใส่ชื่อ Intent

b. Phrase คือช่องสำหรับใส่คำหรือประโยคของ Intent นั้นๆ

b. Download Intent-Response Template สำหรับจัดการกลุ่มคำตอบของแต่ละ Intent

a. Intent คือช่องสำหรับใส่ชื่อ Intent

b. Response คือช่องสำหรับใส่คำตอบหรือประโยคที่อยากให้บอท

ให้กับ Intent นั้นๆ

c. Download Chitchat-Response Template สำหรับจัดการกลุ่มคำถามและคำตอบของ Chitchat

a. Phrase คือช่องสำหรับใส่คำถามหรือประโยคที่คาดว่าผู็ใช้จะ

พิมพ์เข้ามา

b. Response คือช่องสำหรับใส่คำตอบหรือประโยคที่อยากให้บอท

ให้กับ Phrase นั้นๆ

เคล็ดลับ: ส่วนหัวของ Column ใน Template ห้ามทำการเปลี่ยนชื่อเด็ดขาด

f. Export การนำข้อมูลที่เทรนไว้แล้วออกมาในรูปแบบ Excel

a. Date สามารถระบุช่วงเวลาของข้อมูลที่อยากจะ Export ออกมา

ได้

a. Starting-Present: เลือกตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน

b. Select a date range: เลือกตามช่วงเวลา

b. Type สามารถเลือกข้อมูลที่ต้องการ Export ว่าเป็นส่วนไหน

a. Trained: ข้อมูลในส่วนของ Trained

b. Untrained: ข้อมูลในส่วนของ Untrained

c. Categories สามารถเลือกข้อมูลที่ต้องการ Export ว่าเป็น

ประเภทไหน

c. All: ข้อมูลทุกประเภท

a. Chitchat: เฉพาะ Chitchat

b. Default Message: เฉพาะ Default Message

c. Intent: เฉพาะ Intent

d. เคล็ดลับ: สามารถเลือก Export ข้อมูลเฉพาะที่ต้องการพร้อมกันได้

Entity

คือ กลุ่มคำต่างๆที่จัดอยู่ในหมวดเดียวกัน หรือเป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน (โดย feature Entity จะนำไปใช้ใน Object Dialogue)

a. New Entities ปุ่มสำหรับสร้างชุด Entities

b. Entities Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Entities

c. คลิกปุ่ม (+Add Phrase)

d. Confident ช่องสำหรับตั้งค่าความมั่นใจของ Entities

เคล็ดลับ: สามารถลบข้อมูลใน Trained ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการลบและกดปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

เคล็ดลับ: สามารถลบ Entities ได้ด้วยการกดติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อ Entities จากนั้น ระบบจะแสดงปุ่มลบ ขึ้นมาให้กดที่ปุ่ม กดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ หรือสามารถเลือกลบ Entities ทั้งหมดพร้อมกันได้ด้วยการติ๊กถูกที่ช่อง All จากนั้นกดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

Dialogue

โดยปกติทั่วไปแชทบอทจะตอบคำถามแบบ 1:1 (ถาม-ตอบ) แต่ Dialogueเป็นรูปแบบคำตอบอีกอย่างหนึ่ง ที่สามารถตอบกลับเป็นบทสนทนาต่อเนื่องได้


ซึ่งเราสามารถทั้งกำหนดรูปแบบของคำถาม-คำตอบ และเส้นทางในบทสนทนานั้นๆได้

และยังสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นคำตอบของ User เพื่อเอาไปใช้ในการเชื่อมต่อระบบอื่นๆได้อีกด้วย


ส่วนประกอบของหน้า Object (Dialogue Flow)

หน้า Object Dialogue มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่มหน้าสร้าง Dialogue

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Dialogue (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ dialogue

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข dialogue (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก dialogue (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ dialogue

ส่วนประกอบหน้าสร้าง dialogue

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ


Command ช่องสำหรับเอาไว้ใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบสามารถใส่ได้ทั้ง Text, Object

  • Duplicate (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้คัดลอก Command

  • Delete (ไอคอนรูปถังขยะ) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้ลบ Command

  • Enter message ช่องสำหรับใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบ สามารถใส่ได้ทั้ง อีโมจิ, parameter <..>, Object

  • Parameter <..> ฟังก์ชั่นนี้มีไว้สำหรับการเก็บค่าและแสดงค่าของตัวแปร โดย Use parameter เป็นการนำค่าตัวแปรมาแสดง ส่วน Add parameter คือการเก็บค่าของตัวแปร

a. Add parametor สามารถเพิ่มตัวแปรเพื่อนำไปใช้งานเก็บข้อมูลได้จากส่วนนี้ โดยตัวแปรที่เพิ่มเข้าไปจะแสดงอยู่ที่ส่วน Parameter สามารถกดเพื่อเรียกใช้งานซ้ำได้


รูปแบบของตัวแปรเก็บข้อมูลจะถูกครอบเอาไว้ด้วย <ชื่อตัวแปร> เช่น เมื่อเรียกใช้ จะเป็นการเก็บข้อมูลชื่อ เป็นต้น - Use parametor สามารถเรียกใช้งานตัวแปรที่เพิ่มเอาไว้ได้จากส่วนนี้ สำหรับฟังก์ชั่นนี้จะเป็นการนำข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรออกมาแสดงโดยตัวแปรที่เพิ่มเข้าไปจะแสดงอยู่ที่ส่วน Parameter และมีตัวแปรสำเร็จของระบบที่สามารถเรียกใช้งานได้โดยตรงอยู่ที่ Global parametor สามารถกดเพื่อเรียกใช้งานได้ทันที รูปแบบของตัวแปรเก็บข้อมูลจะถูกครอบเอาไว้ด้วย <<ชื่อตัวแปร>> เช่น <> เมื่อเรียกใช้ จะเป็นการแสดงข้อมูลชื่อที่เก็บออกมา เป็นต้น



การใช้งาน Parametor เพิ่มเติม

Add Parametor ตัวอย่างการสร้างตัวแปรเพื่อเก็บข้อมูล



กดที่ไอคอน <..> เพื่อเรียกหน้าต่างสร้างพารามิเตอออกมา

  • คลิกแท็บ Add parametor ใส่ชื่อตัวแปรที่ต้องการลงไปในช่อง แล้วกด Add


การสร้างตัวแปรปกติจะออกมาแบบรูปด้านบนโดยจะมีเครื่องหมาย<ชื่อตัวแปร> ครอบชื่อตัวแปรเอาไว้


Use Parametor ตัวอย่างการเรียกดูข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร

การเรียกดูข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรจะเป็นการเพิ่มเครื่องหมาย<<ชื่อตัวแปร>> ครอบชื่อตัวแปรเอาไว้


Value Parametor ตัวอย่างการกำหนดค่าให้ตัวแปร

การสร้างตัวแปรปกติจะออกมาแบบรูปด้านซ้ายโดยจะมีเครื่องหมาย <ชื่อตัวแปร> ครอบชื่อตัวแปรเอาไว้

การกำหนดค่าตัวแปรให้เราแก้ไขข้อความให้เป็นรูปแบบด้านขวาตามรูป โดยจะมีรูปแบบ <!ชื่อตัวแปร|ค่าของตัวแปร!>


Formular Parametor การนำตัวแปรมาใส่สูตรคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร

เราสามารถนำค่าตัวแปรของเรามาทำการคำนวณได้ โดยตามรูป ตัวอย่าง จะเห็นรูปแบบของการเขียนสูตร <!ชื่อตัวแปร|<$<<ชื่อตัวแปร>>/<<ชื่อตัวแปร>>$>!>

ในตัวอย่างจะเป็นการ เอาค่าในตัวแปร tall มาหารกับ ค่าในตัวแปร weight เพื่อเก็บค่าลงตัวแปร sum <!........|....!> = การกำหนดค่าให้ตัวแปร <$……$> = การเรียกใช้ฟังชั่นคำนวณใน formular


Add more command สามารถเพิ่มจำนวน Command ได้

เคล็ดลับ: Command list ที่เพิ่มมาจะตอบข้อความในกรณีที่ user ตอบมาไม่ตรงเงื่อนไขที่ตั้ง ไว้และยังอยู่ใน Flow conversation

- If the response dosen’t match any ช่องสำหรับข้อความที่บอทจะตอบกลับไปในกรณีที่ user ตอบไม่ตรงเงื่อนไขและจบการสนทนา หรือ ออกจาก Flow conversation

- Setting มีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่วน ดังนี้

  1. Set start point สำหรับกำหนดจุดเริ่มต้นของ flow ว่าให้เริ่มทำงานจาก Node ไหน

  2. Duplicate สำหรับคัดลอก node

  3. Time out สำหรับตั้งค่า flow เมื่อผู้ใช้ไม่ตอบในเวลาที่กำหนด

  4. Remove สำหรับลบ node

- Next step สามารถเพิ่มหรือเชื่อมต่อไปยัง Condition ถัดไปเพื่อสร้างเงื่อนไขให้บอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ สามารถกำหนดเงื่อนไขได้ 4 แบบ ได้แก่

  1. Entities

  2. Intent

  3. RegEx

  4. Match


ส่วนประกอบของ Condition

Condition ส่วนสำหรับสร้างหรือกำหนดเงื่อนไขให้แชทบอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ ตามที่เราตั้งค่าไว้

Entities สำหรับกำหนดเงื่อนไขด้วย คำ, ประโยค หรือกลุ่มคำ หากผู้ใช้พิมพ์ข้อความด้วยคำที่ตรงกับที่เรากำหนดไว้ แชทบอทจึงจะสามารถไปยังสเต็บถัดไปได้

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Entities ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอน รูปโกดัง หรือสามารถพิมพ์ข้อความลงไปในช่อง Select Entities or Enter Phrase ได้ และยังสามารถบันทึกเป็น Entities ใหม่ได้ ด้วยการกดที่ปุ่ม Save Entities ก็จะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมา ให้ใส่ชื่อ, ปรับ condition และ กดปุ่ม save ก็จะเป็นการบันทึกไว้ใช้งานได้ในครั้งหน้าอีก

  1. Intent การจับเจตนาของคำหรือประโยคของผู้ใช้ ตามที่ได้ train ไว้ก่อนหน้านี้ ในหน้า Train Bot

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Intent ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอนรูปโกดัง

  1. RegEx Regular Expressions คือ การกำหนดรูปแบบหรือกลุ่มคำ เพื่อเอาไว้ใช้ค้นหาข้อความต่างๆตามที่เราต้องการ สามารถค้นหาได้ทั้งอักขระธรรมดา หรือค้นหาความข้อที่กำหนดไว้ หรือจะเป็นอักขระพิเศษก็สามารถค้นหาได้ สมมติ เราต้องการให้ user ตอบเป็นตัวเลข เช่น เบอร์โทรศัพท์, รหัสประจำตัวประชาชน

การใช้งาน สามารถเลือกรูปแบบของ RegEx ได้จากลิสต์รายการที่เราเตรียมไว้ให้ หรือ
Character รับข้อความที่เป็นตัวอักษรทั้งหมด
Email รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบอีเมล
Phone Number รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบเบอร์โทร
License plate รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบป้ายทะเบียนรถ
Date Format รับข้อความที่เขียนด้วยรูปแบบวันที่
Custom สามารถเขียนหรือกำหนด RegEx ได้เอง


  1. Match คือ การกำหนดเงื่อนไข โดยอิงจากจำนวนค่าที่เก็บไว้ของของพารามิเตอร์นั้น ว่าถ้าเท่ากับหรือมากกว่าน้อยกว่า จำนวนค่าที่เราระบุไว้ จะให้เกิดเหตุการณ์ต่อๆไปในโฟลวที่เราสร้าง

<> ช่องสำหรับระบุชื่อของพารามิเตอร์ลงในช่องนี้

  • ช่องกลาง สำหรับให้เราเลือกเครื่องหมาย ว่าค่าในพารามิเตอร์ของเรามีค่าแบบไหน ดังนี้ =, !=, <, >, <=, >=

  • Value number ช่องสำหรับให้เราใส่ค่าของพารามิเตอร์นั้น เป็นตัวเลข

Image (IMG)

Image (IMG) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของรูปภาพ

ส่วนประกอบของหน้า Image

หน้า Object Image มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Image

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Image (ไอคอนรูปถังขยะ)

  1. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Image

  1. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Image (ไอคอนรูปดินสอ)

  1. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Image (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  1. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Image

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Image

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Image

  2. URL ช่องสำหรับใส่ลิงค์เว็บของรูปที่อยกนำมาใช้ ต้องเป็น https

  3. Upload ช่องสำหรับอัพโหลดรูปภาพจากคอมพิวเตอร์เข้าไปเก็บไว้ในระบบ

คำแนะนำและข้อจำกัดของ Image

a. แนะนำ size : 900*900px

b. ขั้นต่ำ : 450*450px

Button (BTN)

Button (BTN) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของปุ่มกดซึ่งเมื่อคลิกไปที่ Button แล้ว ปุ่มจะยังคงอยู่


ส่วนประกอบของหน้า Button

หน้า Object Button มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่


  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Button

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Button (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Button

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Button (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Button (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Button

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Button

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Button

  2. Enter title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Button

  3. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Button เพิ่มได้ 3 ปุ่ม

a. Button Label สำหรับตั้งชื่อปุ่มกด

b. Button Type สำปรับเลือกชนิดปุ่มกด มี 3 แบบ
1. Message สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นข้อความธรรมดา
2. Phone สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นเบอร์โทรศัพท์
3. URL สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นลิงค์ของเว็บไซต์

c. Message สำหรับใส่ข้อความที่จะให้บอทตอบออกไป จะต่างไปตามประเภทปุ่มกดที่เราเลือก


คำแนะนำและข้อจำกัด Button

  1. หัวข้อ : สูงสุด 160 ตัวอักษร

  2. เพิ่มปุ่มกดได้มากสุด: 3 ปุ่ม

  3. ชนิดของปุ่ม : มี 3 แบบ (ข้อความ , เบอร์โทรศัพท์ , URL)

  4. ชื่อปุ่มกด : สูงสุด 20 ตัวอักษร

Quick Reply (QRP)

Quick Reply (QRP) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของ Choice ซึ่งเป็นปุ่มกดโดยเมื่อ คลิกไปที่ปุ่มใดปุ่มหนึ่งแล้ว Quick Reply จะหายไป


ส่วนประกอบของหน้า Quick Reply

หน้า Object Quick Reply มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Quick Reply

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Quick Reply (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Quick Reply

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Quick Reply (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Quick Reply (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Quick Reply

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Quick Reply

a. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Quick Reply

b. Enter quick reply title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Quick Reply

c. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Quick Reply เพิ่มได้ 13 ปุ่ม

Flex Message (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระ โดยใน Flex message จะสามารถ บรรจุได้ทั้ง button, icon, image, text และอื่นๆ รวมถึงสามารถสร้าง action จาก button, image และ text ได้

เคล็ดลับ: Object รูปแบบ Flex จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Flex

หน้า Object Flex มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Flex

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Flex (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Flex

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Flex (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Flex (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Flex

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Flex

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Flex

  1. Go to Flex Simulator สำหรับลิงค์ไปยังหน้าแพลตฟอร์มที่ใช้สร้าง Flex

  1. Field พื้นที่ว่างสำหรับวางโค้ด json ของ Flex

คำแนะนำและข้อจำกัด Flex

Custom Payload (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระเช่นกัน

ส่วนประกอบของหน้า Custom Payload

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Custom Payload

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Custom Payload (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Custom Payload

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Custom Payload (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Custom Payload (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Custom Payload

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Custom Payload

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Custom Payload

  2. Dropdown สำหรับเลือกชนิดของ Custom Payload ว่าเป็นของ LINE หรือ Facebook

  3. Field พื้นที่ว่างสำหรับวางโค้ด json ของ Custom Payload

คำแนะนำและข้อจำกัด Custom Payload

Rich Menu (RM)

แถบเมนูลัดที่แป้นพิมพ์ในห้องแชท สามารถตั้งค่าการตอบกลับเมื่อเลือกที่ ริชเมนู ได้ตามความต้องการโดยที่จะเป็น Link web Text หรือ Intent ต่างๆ

เคล็ดลับ: Rich Menu จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Rich Menu

หน้า Object Rich Menu มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Rich Menu

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Rich Menu (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Rich Menu

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Rich Menu (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Rich Menu (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Rich Menu

ส่วนประกอบของหน้า Create Rich Menu

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Rich Menu

  2. Select Type สำหรับเลือกชนิดของ Rich menu ว่าเป็นขนาดเล็กหรือใหญ่

  3. Columns เพิ่มคอลัมน์สำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  4. Rows เพิ่มแถวสำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  5. Rich Menu Image พื้นที่สำหรับอัพโหลดรูปของ Rich menu

  6. Setting สำหรับตั้งค่าการทำงานของ Rich menu

a. Set as main rich menu ตั้งเป็น Rich menu หลักเมื่อเปิดไลน์

b. Set as auto show ตั้งให้แสดง Rich menu ทันทีเมื่อเปิดไลน์

  1. Click Action สำหรับกำหนดการทำงานของของ Rich menu แต่ละตำแหน่งใน คอลัมน์และแถว ที่สร้างไว้ โดยกำหนดการทำงานทั้งหมดได้ 4 แบบ

a. Text ส่งเป็นข้อความเมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

b. URL เปิดเว็บไชต์เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

c. Object แสดงผลเป็น Object เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

d. Intent แสดงผลเป็นคำตอบจาก Intent เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

คำแนะนำและข้อจำกัด Rich Menu

  1. รองรับไฟล์: png, jpg, jpeg

  2. ขนาดไฟล์: ไม่เกิน 1 MB

  3. ขนาดรูปที่รองรับ: 2500x1686, 2500x843, 1200x810, 1200x405, 800x540, 800x270 px

  4. เว็บไซต์สำหรับสร้าง Rich menu: https://lineforbusiness.com/richmenumaker/

API

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้ โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า API

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม API

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ API (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ API

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข API (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก API (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ API

ส่วนประกอบหน้าสร้าง API

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object API

  2. Method ช่องสำหรับเลือกประเภท API

a. GET

b. POST จะมีส่วน Body ไว้ให้ใส่ Code

  1. URL ช่องสำหรับวางลิงค์ URL ของ API

  2. Add Header สำหรับเพิ่ม Header ของ API หากต้องการใช้

a. Header ช่องสำหรับใส่ค่า Header

b. Value ช่องสำหรับใส่ค่า Value

Livechat

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้

โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า Live Chat

Bot/Agent สามารถกดสลับเพื่อดูข้อความที่เข้ามา

  • Bot เป็นข้อความที่ผู้ใช้คุยกับบอทในขณะนี้

  • Agent เป็นข้อความที่ติดสถานะ Agent เนื่องจากผู้ใช้ต้องการคุยกับจ้าหน้าที่

Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อของผู้ใช้

Filter ส่วนสำหรับตั้งค่าคัดกรองข้อความ ประกอบไปด้วย

  • Channel ส่วนสำหรับกรองให้แสดงประเภทข้อความว่ามาจากช่องทางไหน

  • Message Status สำหรับกรองให้แสดงข้อความว่าเป็นประเภทไหน

    1. All เลือกแสดงข้อความจากผู้ใช้ทั้งหมด

    2. Read เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่อ่านแล้ว

    3. Unread เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ยังไม่ได้อ่านแล้ว

    4. Block เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกบล็อค

  • Tag เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกติดแท็กที่เลือก

Inbox Message รายการข้อความที่ผู้ใช้กำลังสนทนา โดยจะมีรายละเอียดดังนี้

  • Profile Picture ส่วนที่ไฮไลต์สีส้มเป็นส่วนแสดงรูปโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Profile Name ส่วนที่ไฮไลต์สีเทาเป็นส่วนแสดงชื่อโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Message ส่วนแสดงข้อความจากผู้ใช้ ตัวอักษรหน้าคือข้อความที่ยังไม่ได้อ่านตัวอักษรบางคือข้อความที่อ่านแล้ว

  • Red Dot จุดสีแดงแสดงว่าเป็นข้อความมาใหม่และยังไม่ได้อ่าน

Window Message ช่องแสดงรายละเอียดการสนทนา และสามารถตอบโต้กับผู้ใช้ได้ ข้อความด้านซ้ายจะเป็นข้อความจากฝั่งผู้ใช้ ส่วนทางด้านขวาจะเป็นข้อความจากฝั่งบอทและเจ้าหน้าที่

เคล็ดลับ: เมื่อเจ้าหน้าที่คุยกับผู้ใช้โดยตรง จะแสดงปุ่ม Done ขึ้นมา ซึ่งเป็นปุ่มไว้สำหรับให้เจ้าหน้าที่กด เมื่อจบการสนทนากับผู้ใช้แล้ว จะส่งผู้ใช้กลับไปคุยกับแชทบอทตามเดิม

  • Search ช่องสำหรับค้นหาข้อความเก่าๆที่เคยสนทนาได้

  • Sent สถานะในการส่งข้อความ
    1. / ขีดเดียวคือกำลังส่ง
    2. // สองขีดคือส่งเรียบร้อย

  • Send a message ช่องสำหรับเขียนข้อความ
    1. Image สามารถเลือก รูปภาพจากคอมพิวเตอร์เพื่อส่งได้
    2. Intent&Object สามารถเลือก object และ intent จากคลังสือเพื่อส่งได้
    3. Send ปุ่มสำหรับกดส่งข้อความ
    4. Send and train เมื่อติ๊กที่ช่องนี้ เวลาที่กดปุ่ม Send ข้อความจะถูกสอนลงไปในส่วนของ Trained ใน Chitchat

Right Channel ช่องแสดงรายละเอียดต่างๆเกียวกับผู้ใช้ สามารถเพิ่ม tag,note, หรือแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ได้ และสามารถสลับโหมดเป็นให้เจ้าหน้าที่ตอบหรือสลับกลับไปเป็นแชทบอทตอบได้อีกด้วย

  • Profile Name ส่วนบนสุดจะแสดงชื่อโปรไล์ของผู้ใช้

  • Status ส่วนนี้แสดงสถนะว่าอยู่ในโหมดไหน ซึ่งสามารถกดสลับไปมาระหว่างให้แชทบอทโหมด หรือเจ้าหน้าที่โหมดได้

  • Profile ส่วนสำหรับแสดงข้อมูลของผู้ใช้ เจ้าหน้าที่สามารถแก้ไขข้อมูลตรงส่วนนี้ได้โดยกดที่ไอคอนรูปดินสอขวาบน

  • Tag สามารถเพิ่มแท็ก เป็นติดป้ายหรือสถานะ ให้กับผู้ใช้ได้ โดยกดไปที่ปุ่ม Add

. เมื่อกด Add จะแสดงหน้าต่างขึ้นมา สามารถพิมพ์ชื่อแท็กเพื่อเพิ่มลงไปได้ที่ช่อง Find or Create a new tag แล้วกด Add เมื่อติ๊กที่แท็ก จะเป็นสีฟ้า แปลว่าติดแท็กเรียบร้อย ส่วนแท็กที่ไม่ได้เลือกจะเป็นสีขาว

. Note สามารถเพิ่มบันทึกข้อความลงไปได้ โดยบันทึกจะมีรายละเอียด ชื่อของผู้บันทึก แลัวันที่บันทึกแสดงไว้

เมื่อกดคลิกที่บันทึกที่บันทึกไว้ จะสามารถแก้ไขหรือลบบันทึกได้

  • Image แสดงรูปภาพที่ผู้ใช้เคยส่งเข้ามา

Live Chat Setting

สำหรับตั้งค่าการทำงานต่างๆของ Live Chat ได้เพิ่มเติม



Switch To Agent สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังเจ้าหน้าที่โหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to an agent mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอทด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถุกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

  2. Switch to an agent mode when the bot reply Default Fallback สามารถใส่ จำนวนครั้งเอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอท แล้วบอทตอบกลับผู้ใช้ไปด้วย Response ของ Default Fallbak ที่ตั้งไว้ ครบจำนวนครั้งเมื่อไหร่ ผู้ใช้จะถูกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

Switch To Bot สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังแชทบอทโหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to bot mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาในขณะที่ติดอยู่ในเจ้าหน้าที่โหมดด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถูกสลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมดทันที

  2. Switch to an bot mode affter agent reply last message สามารถกำหนดเวลาที่จะให้ผู้ใช้สลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมด เมื่อเจ้าหน้าที่ส่งข้อความสุดท้ายออกไปภายหลังจากเวลาที่กำหนด

Business Hours สามารถกำหนดการทำงานได้ว่าจะให้เกิดอะไรเมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน สามารถให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไปได้ หรือส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

  1. Out of business hours mode กำหนดการทำงานของแชทบอทในช่วงนอกเวลาทำการ

    1. Configure buisness hours ในส่วนนี้ใช้สำหรับตั้งช่วงเวลาและวันเปิดทำการของคุณเอาไว้ สามารถกด Add more เพื่อเพิ่มช่วงเวลาและวันเปิดทำการได้

    2. Take this action ในส่วนนี้เป็นส่วนกำหนดการทำงานของแชทบอทว่าจะให้ทำยังไง เมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน
      1.1) Switch to Bot ให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไป
      1.2) Hold the Agent ส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

    3. Send this message กำหนดข้อความที่จะให้ตอบกลับไปได้

  2. Email notification สามารถเพิ่มผู้รับอีเมล เมื่อมีการทักมาหา เจ้าหน้าที่นอกเวลาทำการ โดยจะมีข้อความจากผู้ใช้ส่งไปที่อีเมล

Setting


หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอยจัดการการตั้งค่าต่างๆ เช่นโปรไฟล์

แชทบอท, การเชื่อมต่อ, การแชร์สิทธิ์การเข้าถึง เป็นต้น

a. My account สำหรับออกจากระบบ

a. Chatbot Profile หน้าสำหรับจัดการตั้งค่าข้อมูลโปรไฟล์ของแชทบอท

a. Edit chatbot profile สามารถกดเพื่อแก้ไขข้อมูลโปรไฟล์ของ

แชทบอท

b.Delete chatbot สามารถกดเพื่อลบแชทบอท

a. Connection สามารถกดเพื่อเชื่อมต่อแชทบอทเข้ากับแชลแนลต่าง ไลน์และเฟสบุ๊ค ได้

a. Facebook messenger สามารถกดที่ Messenger setting เพื่อ

ทำการเชื่อมต่อกับเฟสบุ๊ค Page ของเราได้ทัน

b.LINE สามารถเลือกเชื่อมต่อได้ 2 วิธี คือ

a. LINE modular setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA

แบบง่ายไม่ยุ่งยาก

b. LINE manual setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA ใน

แบบที่ยุ่งยากกว่า

เคล็ดลับ: การเชื่อมต่อแบบ LINE manual setting จะสามารถทำการตั้งค่าใช้งาน Rich menu แบบสลับได้ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อแบบ LINE modular setting จะไม่สามารถทำได้

เคล็ดลับ: เมื่อเชื่อมต่อสำเร็จไฟจะเป็นสีเขียวดังตัวอย่างในรูปด้านบน และจะแสดงคำว่า Connected

เคล็ดลับ: ปุ่มสไลด์ด้านขวา จะเป็นปุ่มที่มีไว้สำหรับ เปิด-ปิด แชทบอท เมื่อปิดปุ่มจะเป็นสีเทาและแชทบอทจะไม่ตอบข้อความ เมื่อเปิดปุ่มจะเป็นสีฟ้าและแชทบอทจะตอบข้อความตามปกติ

a. Shared permissions แสดงรายชื่อของผู้ใช้งานที่เราแชร์บอทให้สามารถเข้ามาทำงานร่วมกันได้

a. Edit สามารถกดเพื่อแก้ไขสิทธ์การเข้าถึงส่วนต่างๆ ของผู้ใช้งาน

(ไอคอนรูปดินสอ)

b.Delete สามารถกดเพื่อลบผู้ใช้ที่เราแชร์สิทธิ์ได้ (ไอคอนถังขยะ)

c.Add new user สามารถกดเพื่อเพิ่มผู้ใช้งานให้สามารถเข้ามา

ทำงานร่วมกันได้

เคล็ดลับ: ไอคอนสีฟ้า หมายความว่าผู้ใช้ตอบรับการแชร์บอทของเราและสมัครเข้าสู่ระบบเพื่อเข้ามาใช้งานเรียบร้อยแล้ว

a. Enter email ช่องสำหรับใส่อีเมลให้กับคนที่เราต้องการแชร์แชทบอท

b. Permission สามารถกำหนดได้ว่าต้องการให้คนที่เราแชร์แชทบอท เข้าใช้งานในส่วนไหนได้โดยเฉพาะ

บริการใหม่จากเรา

AI Voice Bot

ช่วยลดงาน Call Center

เอไอบอทอัจฉริยะ สนทนาด้วยเสียง ทำงานตลอด 24 ชม. ลูกค้าไม่ต้องรอนาน ตอบคำถามแม่นยำ เพิ่มประสิทธิภาพงาน Call Center

Dashboard

Dashboard เป็นหน้าสรุปสถิติการใช้งานแชทบอท โดยจะประกอบด้วย


  1. Date range โดยสามารถเลือกดูข้อมูลได้ 3 ช่วงเวลา คือ

    • 7 day เป็นสถิติรายสัปดาห์ โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 7 วันก่อนหน้า

    • 30 day เป็นสถิติรายเดือน โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 30 วันก่อนหน้า

    • 365 day เป็นสถิติรายปี โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 365 วันก่อนหน้า

  2. Total Users คือ สถิติจำนวนผู้ใช้งานทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

    เคล็ดลับ: จำนวนเปอร์เซ็นต์ % เป็นการเปรียบเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้า ตามช่วงเวลาที่เลือก (7 วันก่อนหน้า, 30 วันก่อนหน้า, 365 วันก่อนหน้า)

  3. Total Messages คือสิถิติจำนวนข้อความที่แชทบอทตอบออกไปทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

  4. Active Users คือสถิติจำนวนคนที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเฉพาะในช่วงเวลาที่เลือก แบ่งเป็น

    • New User คือ ผู้ใช้งานที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเป็นครั้งแรก

    • User Retention คือ ผู้ใช้งานที่เคยเข้ามาคุยกับแชทบอทแล้วกลับมาใช้อีก

  5. Incoming Message คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานส่งเข้ามาแชทกับบอท แบ่งเป็น

    • Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทสามารถตอบได้

    • Non Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทไม่สามารถตอบได้ (Default Fallback)

    • Agent Call Messages คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานต้องการคุยกับเจ้าหน้าที่

  1. User Statistics คือสถิติจำนวนผู้ใช้งานแชทบอทรูปแบบกราฟ

  1. Total Intents คือจำนวนรวมครั้งที่ intent ถูกเรียกใช้ไปตอบผู้ใช้

  2. ตาราง intent แสดงรายการ intent ที่ถูกเรียกออกไปตอบ โดยจะเรียงลำดับ จากจำนวนมากขึ้นก่อน โดยจะแสดงผลจำนวนหน้าละ 5 intent แบ่งเป็น

  • Intent name คือชื่อ intent

  • Total คือจำนวนครั้งที่ intent ถูกเรียกออกไปตอบ

  • Ratio คือสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่ intent นั้นถูกเรียกออกไปเทียบกับจำนวน การเรียก intent ทั้งหมด

Train Bot

Train Bot เป็น ส่วนสำคัญในการสร้างแชทบอท เพราะเป็นส่วนที่ใช้สำหรับการตั้งค่าคำตอบของบอทกับคำถามของผู้ใช้งานแชทบอทให้สัมพันธ์กัน ส่วนประกอบของรายการของ Intent มีดังนี้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

เราสามารถตั้งค่า Default Fallback ได้ดังนี้

a. Bot Response คือ ตั้งค่าคำตอบที่อยากให้บอทตอบออกไปเมื่อไม่เข้าใจประโยค คือเมื่อระบบพบค่าความมั่นใจ % ต่ำกว่าที่ตั้งไว้

b. Confident คือ ตั้งค่าความมั่นใจที่ต้องการให้บอทตอบ ยิ่งใกล้ 100% เท่าไหร่ หมายความว่าผู้ใช้จะต้องพิมพ์ประโยคที่มีความแม่นยำหรือตรงกับข้อมูลที่เราได้สอนบอทไว้มากเท่านั้น

ตัวอย่าง Default Message คือ Sorry I don't understand และ ค่า Default Confident เท่ากับ 65%


Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Entity

คือ กลุ่มคำต่างๆที่จัดอยู่ในหมวดเดียวกัน หรือเป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน (โดย feature Entity จะนำไปใช้ใน Object Dialogue)

a. New Entities ปุ่มสำหรับสร้างชุด Entities

b. Entities Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Entities

c. คลิกปุ่ม (+Add Phrase)

d. Confident ช่องสำหรับตั้งค่าความมั่นใจของ Entities

เคล็ดลับ: สามารถลบข้อมูลใน Trained ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการลบและกดปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

เคล็ดลับ: สามารถลบ Entities ได้ด้วยการกดติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อ Entities จากนั้น ระบบจะแสดงปุ่มลบ ขึ้นมาให้กดที่ปุ่ม กดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ หรือสามารถเลือกลบ Entities ทั้งหมดพร้อมกันได้ด้วยการติ๊กถูกที่ช่อง All จากนั้นกดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

Dialogue

โดยปกติทั่วไปแชทบอทจะตอบคำถามแบบ 1:1 (ถาม-ตอบ) แต่ Dialogueเป็นรูปแบบคำตอบอีกอย่างหนึ่ง ที่สามารถตอบกลับเป็นบทสนทนาต่อเนื่องได้


ซึ่งเราสามารถทั้งกำหนดรูปแบบของคำถาม-คำตอบ และเส้นทางในบทสนทนานั้นๆได้

และยังสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นคำตอบของ User เพื่อเอาไปใช้ในการเชื่อมต่อระบบอื่นๆได้อีกด้วย


ส่วนประกอบของหน้า Object (Dialogue Flow)

หน้า Object Dialogue มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่มหน้าสร้าง Dialogue

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Dialogue (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ dialogue

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข dialogue (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก dialogue (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ dialogue

ส่วนประกอบหน้าสร้าง dialogue

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

ส่วนประกอบของ Node

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

Command ช่องสำหรับเอาไว้ใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบสามารถใส่ได้ทั้ง Text, Object

  • Duplicate (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้คัดลอก Command

  • Delete (ไอคอนรูปถังขยะ) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้ลบ Command

  • Enter message ช่องสำหรับใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบ สามารถใส่ได้ทั้ง อีโมจิ, parameter <..>, Object

  • Parameter <..> ฟังก์ชั่นนี้มีไว้สำหรับการเก็บค่าและแสดงค่าของตัวแปร โดย Use parameter เป็นการนำค่าตัวแปรมาแสดง ส่วน Add parameter คือการเก็บค่าของตัวแปร

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

การสร้างตัวแปรปกติจะออกมาแบบรูปด้านซ้ายโดยจะมีเครื่องหมาย <ชื่อตัวแปร> ครอบชื่อตัวแปรเอาไว้

การกำหนดค่าตัวแปรให้เราแก้ไขข้อความให้เป็นรูปแบบด้านขวาตามรูป โดยจะมีรูปแบบ <!ชื่อตัวแปร|ค่าของตัวแปร!>


Formular Parametor การนำตัวแปรมาใส่สูตรคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร

เราสามารถนำค่าตัวแปรของเรามาทำการคำนวณได้ โดยตามรูป ตัวอย่าง จะเห็นรูปแบบของการเขียนสูตร <!ชื่อตัวแปร|<$<<ชื่อตัวแปร>>/<<ชื่อตัวแปร>>$>!>

ในตัวอย่างจะเป็นการ เอาค่าในตัวแปร tall มาหารกับ ค่าในตัวแปร weight เพื่อเก็บค่าลงตัวแปร sum <!........|....!> = การกำหนดค่าให้ตัวแปร <$……$> = การเรียกใช้ฟังชั่นคำนวณใน formular


Add more command สามารถเพิ่มจำนวน Command ได้

เคล็ดลับ: Command list ที่เพิ่มมาจะตอบข้อความในกรณีที่ user ตอบมาไม่ตรงเงื่อนไขที่ตั้ง ไว้และยังอยู่ใน Flow conversation

- If the response dosen’t match any ช่องสำหรับข้อความที่บอทจะตอบกลับไปในกรณีที่ user ตอบไม่ตรงเงื่อนไขและจบการสนทนา หรือ ออกจาก Flow conversation

- Setting มีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่วน ดังนี้

  1. Set start point สำหรับกำหนดจุดเริ่มต้นของ flow ว่าให้เริ่มทำงานจาก Node ไหน

  2. Duplicate สำหรับคัดลอก node

  3. Time out สำหรับตั้งค่า flow เมื่อผู้ใช้ไม่ตอบในเวลาที่กำหนด

  4. Remove สำหรับลบ node

- Next step สามารถเพิ่มหรือเชื่อมต่อไปยัง Condition ถัดไปเพื่อสร้างเงื่อนไขให้บอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ สามารถกำหนดเงื่อนไขได้ 4 แบบ ได้แก่

  1. Entities

  2. Intent

  3. RegEx

  4. Match


ส่วนประกอบของ Condition

Condition ส่วนสำหรับสร้างหรือกำหนดเงื่อนไขให้แชทบอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ ตามที่เราตั้งค่าไว้

Entities สำหรับกำหนดเงื่อนไขด้วย คำ, ประโยค หรือกลุ่มคำ หากผู้ใช้พิมพ์ข้อความด้วยคำที่ตรงกับที่เรากำหนดไว้ แชทบอทจึงจะสามารถไปยังสเต็บถัดไปได้

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Entities ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอน รูปโกดัง หรือสามารถพิมพ์ข้อความลงไปในช่อง Select Entities or Enter Phrase ได้ และยังสามารถบันทึกเป็น Entities ใหม่ได้ ด้วยการกดที่ปุ่ม Save Entities ก็จะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมา ให้ใส่ชื่อ, ปรับ condition และ กดปุ่ม save ก็จะเป็นการบันทึกไว้ใช้งานได้ในครั้งหน้าอีก

  1. Intent การจับเจตนาของคำหรือประโยคของผู้ใช้ ตามที่ได้ train ไว้ก่อนหน้านี้ ในหน้า Train Bot

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Intent ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอนรูปโกดัง

  1. RegEx Regular Expressions คือ การกำหนดรูปแบบหรือกลุ่มคำ เพื่อเอาไว้ใช้ค้นหาข้อความต่างๆตามที่เราต้องการ สามารถค้นหาได้ทั้งอักขระธรรมดา หรือค้นหาความข้อที่กำหนดไว้ หรือจะเป็นอักขระพิเศษก็สามารถค้นหาได้ สมมติ เราต้องการให้ user ตอบเป็นตัวเลข เช่น เบอร์โทรศัพท์, รหัสประจำตัวประชาชน

การใช้งาน สามารถเลือกรูปแบบของ RegEx ได้จากลิสต์รายการที่เราเตรียมไว้ให้ หรือ
Character รับข้อความที่เป็นตัวอักษรทั้งหมด
Email รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบอีเมล
Phone Number รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบเบอร์โทร
License plate รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบป้ายทะเบียนรถ
Date Format รับข้อความที่เขียนด้วยรูปแบบวันที่
Custom สามารถเขียนหรือกำหนด RegEx ได้เอง


  1. Match คือ การกำหนดเงื่อนไข โดยอิงจากจำนวนค่าที่เก็บไว้ของของพารามิเตอร์นั้น ว่าถ้าเท่ากับหรือมากกว่าน้อยกว่า จำนวนค่าที่เราระบุไว้ จะให้เกิดเหตุการณ์ต่อๆไปในโฟลวที่เราสร้าง

<> ช่องสำหรับระบุชื่อของพารามิเตอร์ลงในช่องนี้

  • ช่องกลาง สำหรับให้เราเลือกเครื่องหมาย ว่าค่าในพารามิเตอร์ของเรามีค่าแบบไหน ดังนี้ =, !=, <, >, <=, >=

  • Value number ช่องสำหรับให้เราใส่ค่าของพารามิเตอร์นั้น เป็นตัวเลข

Image (IMG)

Image (IMG) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของรูปภาพ

ส่วนประกอบของหน้า Image

หน้า Object Image มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Image

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Image (ไอคอนรูปถังขยะ)

  1. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Image

  1. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Image (ไอคอนรูปดินสอ)

  1. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Image (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  1. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Image

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Image

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Image

  2. URL ช่องสำหรับใส่ลิงค์เว็บของรูปที่อยกนำมาใช้ ต้องเป็น https

  3. Upload ช่องสำหรับอัพโหลดรูปภาพจากคอมพิวเตอร์เข้าไปเก็บไว้ในระบบ

คำแนะนำและข้อจำกัดของ Image

a. แนะนำ size : 900*900px

b. ขั้นต่ำ : 450*450px

Button (BTN)

Button (BTN) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของปุ่มกดซึ่งเมื่อคลิกไปที่ Button แล้ว ปุ่มจะยังคงอยู่


ส่วนประกอบของหน้า Button

หน้า Object Button มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่


  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Button

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Button (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Button

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Button (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Button (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Button

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Button

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Button

  2. Enter title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Button

  3. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Button เพิ่มได้ 3 ปุ่ม

a. Button Label สำหรับตั้งชื่อปุ่มกด

b. Button Type สำปรับเลือกชนิดปุ่มกด มี 3 แบบ
1. Message สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นข้อความธรรมดา
2. Phone สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นเบอร์โทรศัพท์
3. URL สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นลิงค์ของเว็บไซต์

c. Message สำหรับใส่ข้อความที่จะให้บอทตอบออกไป จะต่างไปตามประเภทปุ่มกดที่เราเลือก


คำแนะนำและข้อจำกัด Button

  1. หัวข้อ : สูงสุด 160 ตัวอักษร

  2. เพิ่มปุ่มกดได้มากสุด: 3 ปุ่ม

  3. ชนิดของปุ่ม : มี 3 แบบ (ข้อความ , เบอร์โทรศัพท์ , URL)

  4. ชื่อปุ่มกด : สูงสุด 20 ตัวอักษร

Quick Reply (QRP)

Quick Reply (QRP) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของ Choice ซึ่งเป็นปุ่มกดโดยเมื่อ คลิกไปที่ปุ่มใดปุ่มหนึ่งแล้ว Quick Reply จะหายไป


ส่วนประกอบของหน้า Quick Reply

หน้า Object Quick Reply มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Quick Reply

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Quick Reply (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Quick Reply

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Quick Reply (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Quick Reply (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Quick Reply

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Quick Reply

a. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Quick Reply

b. Enter quick reply title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Quick Reply

c. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Quick Reply เพิ่มได้ 13 ปุ่ม

Flex Message (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระ โดยใน Flex message จะสามารถ บรรจุได้ทั้ง button, icon, image, text และอื่นๆ รวมถึงสามารถสร้าง action จาก button, image และ text ได้

เคล็ดลับ: Object รูปแบบ Flex จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Flex

หน้า Object Flex มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Flex

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Flex (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Flex

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Flex (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Flex (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Flex

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Flex

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Flex

คำแนะนำและข้อจำกัด Flex

Custom Payload (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระเช่นกัน

ส่วนประกอบของหน้า Custom Payload

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Custom Payload

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Custom Payload (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Custom Payload

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Custom Payload (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Custom Payload (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Custom Payload

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Custom Payload

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Custom Payload

  2. Dropdown สำหรับเลือกชนิดของ Custom Payload ว่าเป็นของ LINE หรือ Facebook

  3. Field พื้นที่ว่างสำหรับวางโค้ด json ของ Custom Payload

คำแนะนำและข้อจำกัด Custom Payload

Rich Menu (RM)

แถบเมนูลัดที่แป้นพิมพ์ในห้องแชท สามารถตั้งค่าการตอบกลับเมื่อเลือกที่ ริชเมนู ได้ตามความต้องการโดยที่จะเป็น Link web Text หรือ Intent ต่างๆ

เคล็ดลับ: Rich Menu จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Rich Menu

หน้า Object Rich Menu มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Rich Menu

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Rich Menu (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Rich Menu

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Rich Menu (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Rich Menu (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Rich Menu

ส่วนประกอบของหน้า Create Rich Menu

Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Rich Menu

  1. Select Type สำหรับเลือกชนิดของ Rich menu ว่าเป็นขนาดเล็กหรือใหญ่

  2. Columns เพิ่มคอลัมน์สำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  3. Rows เพิ่มแถวสำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  4. Rich Menu Image พื้นที่สำหรับอัพโหลดรูปของ Rich menu

  5. Setting สำหรับตั้งค่าการทำงานของ Rich menu

    • Set as main rich menu ตั้งเป็น Rich menu หลักเมื่อเปิดไลน์

    • Set as auto show ตั้งให้แสดง Rich menu ทันทีเมื่อเปิดไลน์

  6. Click Action สำหรับกำหนดการทำงานของของ Rich menu แต่ละตำแหน่งใน คอลัมน์และแถว ที่สร้างไว้ โดยกำหนดการทำงานทั้งหมดได้ 4 แบบ

    • Text ส่งเป็นข้อความเมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • URL เปิดเว็บไชต์เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • Object แสดงผลเป็น Object เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • Intent แสดงผลเป็นคำตอบจาก Intent เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

คำแนะนำและข้อจำกัด Rich Menu

  1. รองรับไฟล์: png, jpg, jpeg

  2. ขนาดไฟล์: ไม่เกิน 1 MB

  3. ขนาดรูปที่รองรับ: 2500x1686, 2500x843, 1200x810, 1200x405, 800x540, 800x270 px

เว็บไซต์สำหรับสร้าง Rich menu: https://lineforbusiness.com/richmenumaker/

Dashboard

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้ โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า API

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม API

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ API (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ API

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข API (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก API (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ API

ส่วนประกอบหน้าสร้าง API

ส่วนประกอบหน้าสร้าง API

a. Header ช่องสำหรับใส่ค่า Header

b. Value ช่องสำหรับใส่ค่า Value

Livechat

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้

โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า Live Chat

Bot/Agent สามารถกดสลับเพื่อดูข้อความที่เข้ามา

  • Bot เป็นข้อความที่ผู้ใช้คุยกับบอทในขณะนี้

  • Agent เป็นข้อความที่ติดสถานะ Agent เนื่องจากผู้ใช้ต้องการคุยกับจ้าหน้าที่

Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อของผู้ใช้

Filter ส่วนสำหรับตั้งค่าคัดกรองข้อความ ประกอบไปด้วย

  • Channel ส่วนสำหรับกรองให้แสดงประเภทข้อความว่ามาจากช่องทางไหน

  • Message Status สำหรับกรองให้แสดงข้อความว่าเป็นประเภทไหน

    1. All เลือกแสดงข้อความจากผู้ใช้ทั้งหมด

    2. Read เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่อ่านแล้ว

    3. Unread เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ยังไม่ได้อ่านแล้ว

    4. Block เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกบล็อค

  • Tag เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกติดแท็กที่เลือก

Inbox Message รายการข้อความที่ผู้ใช้กำลังสนทนา โดยจะมีรายละเอียดดังนี้

  • Profile Picture ส่วนที่ไฮไลต์สีส้มเป็นส่วนแสดงรูปโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Profile Name ส่วนที่ไฮไลต์สีเทาเป็นส่วนแสดงชื่อโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Message ส่วนแสดงข้อความจากผู้ใช้ ตัวอักษรหน้าคือข้อความที่ยังไม่ได้อ่านตัวอักษรบางคือข้อความที่อ่านแล้ว

  • Red Dot จุดสีแดงแสดงว่าเป็นข้อความมาใหม่และยังไม่ได้อ่าน

Window Message ช่องแสดงรายละเอียดการสนทนา และสามารถตอบโต้กับผู้ใช้ได้ ข้อความด้านซ้ายจะเป็นข้อความจากฝั่งผู้ใช้ ส่วนทางด้านขวาจะเป็นข้อความจากฝั่งบอทและเจ้าหน้าที่

เคล็ดลับ: เมื่อเจ้าหน้าที่คุยกับผู้ใช้โดยตรง จะแสดงปุ่ม Done ขึ้นมา ซึ่งเป็นปุ่มไว้สำหรับให้เจ้าหน้าที่กด เมื่อจบการสนทนากับผู้ใช้แล้ว จะส่งผู้ใช้กลับไปคุยกับแชทบอทตามเดิม

  • Search ช่องสำหรับค้นหาข้อความเก่าๆที่เคยสนทนาได้

  • Sent สถานะในการส่งข้อความ
    1. / ขีดเดียวคือกำลังส่ง
    2. // สองขีดคือส่งเรียบร้อย

  • Send a message ช่องสำหรับเขียนข้อความ
    1. Image สามารถเลือก รูปภาพจากคอมพิวเตอร์เพื่อส่งได้
    2. Intent&Object สามารถเลือก object และ intent จากคลังสือเพื่อส่งได้
    3. Send ปุ่มสำหรับกดส่งข้อความ
    4. Send and train เมื่อติ๊กที่ช่องนี้ เวลาที่กดปุ่ม Send ข้อความจะถูกสอนลงไปในส่วนของ Trained ใน Chitchat

Right Channel ช่องแสดงรายละเอียดต่างๆเกียวกับผู้ใช้ สามารถเพิ่ม tag,note, หรือแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ได้ และสามารถสลับโหมดเป็นให้เจ้าหน้าที่ตอบหรือสลับกลับไปเป็นแชทบอทตอบได้อีกด้วย

  • Profile Name ส่วนบนสุดจะแสดงชื่อโปรไล์ของผู้ใช้

  • Status ส่วนนี้แสดงสถนะว่าอยู่ในโหมดไหน ซึ่งสามารถกดสลับไปมาระหว่างให้แชทบอทโหมด หรือเจ้าหน้าที่โหมดได้

  • Profile ส่วนสำหรับแสดงข้อมูลของผู้ใช้ เจ้าหน้าที่สามารถแก้ไขข้อมูลตรงส่วนนี้ได้โดยกดที่ไอคอนรูปดินสอขวาบน

  • Tag สามารถเพิ่มแท็ก เป็นติดป้ายหรือสถานะ ให้กับผู้ใช้ได้ โดยกดไปที่ปุ่ม Add

. เมื่อกด Add จะแสดงหน้าต่างขึ้นมา สามารถพิมพ์ชื่อแท็กเพื่อเพิ่มลงไปได้ที่ช่อง Find or Create a new tag แล้วกด Add เมื่อติ๊กที่แท็ก จะเป็นสีฟ้า แปลว่าติดแท็กเรียบร้อย ส่วนแท็กที่ไม่ได้เลือกจะเป็นสีขาว

. Note สามารถเพิ่มบันทึกข้อความลงไปได้ โดยบันทึกจะมีรายละเอียด ชื่อของผู้บันทึก แลัวันที่บันทึกแสดงไว้

เมื่อกดคลิกที่บันทึกที่บันทึกไว้ จะสามารถแก้ไขหรือลบบันทึกได้

  • Image แสดงรูปภาพที่ผู้ใช้เคยส่งเข้ามา

Live Chat Setting

สำหรับตั้งค่าการทำงานต่างๆของ Live Chat ได้เพิ่มเติม



Switch To Agent สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังเจ้าหน้าที่โหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to an agent mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอทด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถุกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

  2. Switch to an agent mode when the bot reply Default Fallback สามารถใส่ จำนวนครั้งเอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอท แล้วบอทตอบกลับผู้ใช้ไปด้วย Response ของ Default Fallbak ที่ตั้งไว้ ครบจำนวนครั้งเมื่อไหร่ ผู้ใช้จะถูกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

Switch To Bot สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังแชทบอทโหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to bot mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาในขณะที่ติดอยู่ในเจ้าหน้าที่โหมดด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถูกสลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมดทันที

  2. Switch to an bot mode affter agent reply last message สามารถกำหนดเวลาที่จะให้ผู้ใช้สลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมด เมื่อเจ้าหน้าที่ส่งข้อความสุดท้ายออกไปภายหลังจากเวลาที่กำหนด

Business Hours สามารถกำหนดการทำงานได้ว่าจะให้เกิดอะไรเมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน สามารถให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไปได้ หรือส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

  1. Out of business hours mode กำหนดการทำงานของแชทบอทในช่วงนอกเวลาทำการ

    1. Configure buisness hours ในส่วนนี้ใช้สำหรับตั้งช่วงเวลาและวันเปิดทำการของคุณเอาไว้ สามารถกด Add more เพื่อเพิ่มช่วงเวลาและวันเปิดทำการได้

    2. Take this action ในส่วนนี้เป็นส่วนกำหนดการทำงานของแชทบอทว่าจะให้ทำยังไง เมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน
      1.1) Switch to Bot ให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไป
      1.2) Hold the Agent ส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

    3. Send this message กำหนดข้อความที่จะให้ตอบกลับไปได้

  2. Email notification สามารถเพิ่มผู้รับอีเมล เมื่อมีการทักมาหา เจ้าหน้าที่นอกเวลาทำการ โดยจะมีข้อความจากผู้ใช้ส่งไปที่อีเมล

Setting


หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอยจัดการการตั้งค่าต่างๆ เช่นโปรไฟล์

แชทบอท, การเชื่อมต่อ, การแชร์สิทธิ์การเข้าถึง เป็นต้น

a. My account สำหรับออกจากระบบ

a. Chatbot Profile หน้าสำหรับจัดการตั้งค่าข้อมูลโปรไฟล์ของแชทบอท

a. Edit chatbot profile สามารถกดเพื่อแก้ไขข้อมูลโปรไฟล์ของ

แชทบอท

b.Delete chatbot สามารถกดเพื่อลบแชทบอท

a. Connection สามารถกดเพื่อเชื่อมต่อแชทบอทเข้ากับแชลแนลต่าง ไลน์และเฟสบุ๊ค ได้

a. Facebook messenger สามารถกดที่ Messenger setting เพื่อ

ทำการเชื่อมต่อกับเฟสบุ๊ค Page ของเราได้ทัน

b.LINE สามารถเลือกเชื่อมต่อได้ 2 วิธี คือ

a. LINE modular setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA

แบบง่ายไม่ยุ่งยาก

b. LINE manual setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA ใน

แบบที่ยุ่งยากกว่า

เคล็ดลับ: การเชื่อมต่อแบบ LINE manual setting จะสามารถทำการตั้งค่าใช้งาน Rich menu แบบสลับได้ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อแบบ LINE modular setting จะไม่สามารถทำได้

เคล็ดลับ: เมื่อเชื่อมต่อสำเร็จไฟจะเป็นสีเขียวดังตัวอย่างในรูปด้านบน และจะแสดงคำว่า Connected

เคล็ดลับ: ปุ่มสไลด์ด้านขวา จะเป็นปุ่มที่มีไว้สำหรับ เปิด-ปิด แชทบอท เมื่อปิดปุ่มจะเป็นสีเทาและแชทบอทจะไม่ตอบข้อความ เมื่อเปิดปุ่มจะเป็นสีฟ้าและแชทบอทจะตอบข้อความตามปกติ

a. Shared permissions แสดงรายชื่อของผู้ใช้งานที่เราแชร์บอทให้สามารถเข้ามาทำงานร่วมกันได้

a. Edit สามารถกดเพื่อแก้ไขสิทธ์การเข้าถึงส่วนต่างๆ ของผู้ใช้งาน

(ไอคอนรูปดินสอ)

b.Delete สามารถกดเพื่อลบผู้ใช้ที่เราแชร์สิทธิ์ได้ (ไอคอนถังขยะ)

c.Add new user สามารถกดเพื่อเพิ่มผู้ใช้งานให้สามารถเข้ามา

ทำงานร่วมกันได้

เคล็ดลับ: ไอคอนสีฟ้า หมายความว่าผู้ใช้ตอบรับการแชร์บอทของเราและสมัครเข้าสู่ระบบเพื่อเข้ามาใช้งานเรียบร้อยแล้ว

a. Enter email ช่องสำหรับใส่อีเมลให้กับคนที่เราต้องการแชร์แชทบอท

b. Permission สามารถกำหนดได้ว่าต้องการให้คนที่เราแชร์แชทบอท เข้าใช้งานในส่วนไหนได้โดยเฉพาะ

บริการใหม่จากเรา

AI Voice Bot

ช่วยลดงาน
Call Center

เอไอบอทอัจฉริยะ สนทนาด้วยเสียง ทำงานตลอด 24 ชม. ลูกค้าไม่ต้องรอนาน ตอบคำถามแม่นยำ เพิ่มประสิทธิภาพงาน Call Center

Dashboard

Dashboard เป็นหน้าสรุปสถิติการใช้งานแชทบอท โดยจะประกอบด้วย


  1. Date range โดยสามารถเลือกดูข้อมูลได้ 3 ช่วงเวลา คือ

    • 7 day เป็นสถิติรายสัปดาห์ โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 7 วันก่อนหน้า

    • 30 day เป็นสถิติรายเดือน โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 30 วันก่อนหน้า

    • 365 day เป็นสถิติรายปี โดยจะมีแสดงผล %เปรียบเทียบสถิติ 365 วันก่อนหน้า

  2. Total Users คือ สถิติจำนวนผู้ใช้งานทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

    เคล็ดลับ: จำนวนเปอร์เซ็นต์ % เป็นการเปรียบเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้า ตามช่วงเวลาที่เลือก (7 วันก่อนหน้า, 30 วันก่อนหน้า, 365 วันก่อนหน้า)

  3. Total Messages คือสิถิติจำนวนข้อความที่แชทบอทตอบออกไปทั้งหมด นับตั้งแต่เปิดใช้งานแชทบอท

  4. Active Users คือสถิติจำนวนคนที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเฉพาะในช่วงเวลาที่เลือก แบ่งเป็น

    • New User คือ ผู้ใช้งานที่เข้ามาใช้งานแชทบอทเป็นครั้งแรก

    • User Retention คือ ผู้ใช้งานที่เคยเข้ามาคุยกับแชทบอทแล้วกลับมาใช้อีก

  5. Incoming Message คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานส่งเข้ามาแชทกับบอท แบ่งเป็น

    • Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทสามารถตอบได้

    • Non Responded Messages คือจำนวนข้อความที่แชทบอทไม่สามารถตอบได้ (Default Fallback)

    • Agent Call Messages คือจำนวนข้อความที่ผู้ใช้งานต้องการคุยกับเจ้าหน้าที่

  1. User Statistics คือสถิติจำนวนผู้ใช้งานแชทบอทรูปแบบกราฟ

  1. Total Intents คือจำนวนรวมครั้งที่ intent ถูกเรียกใช้ไปตอบผู้ใช้

  2. ตาราง intent แสดงรายการ intent ที่ถูกเรียกออกไปตอบ โดยจะเรียงลำดับ จากจำนวนมากขึ้นก่อน โดยจะแสดงผลจำนวนหน้าละ 5 intent แบ่งเป็น

  • Intent name คือชื่อ intent

  • Total คือจำนวนครั้งที่ intent ถูกเรียกออกไปตอบ

  • Ratio คือสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่ intent นั้นถูกเรียกออกไปเทียบกับจำนวน การเรียก intent ทั้งหมด

Train Bot

Train Bot เป็น ส่วนสำคัญในการสร้างแชทบอท เพราะเป็นส่วนที่ใช้สำหรับการตั้งค่าคำตอบของบอทกับคำถามของผู้ใช้งานแชทบอทให้สัมพันธ์กัน ส่วนประกอบของรายการของ Intent มีดังนี้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

เราสามารถตั้งค่า Default Fallback ได้ดังนี้

a. Bot Response คือ ตั้งค่าคำตอบที่อยากให้บอทตอบออกไปเมื่อไม่เข้าใจประโยค คือเมื่อระบบพบค่าความมั่นใจ % ต่ำกว่าที่ตั้งไว้

b. Confident คือ ตั้งค่าความมั่นใจที่ต้องการให้บอทตอบ ยิ่งใกล้ 100% เท่าไหร่ หมายความว่าผู้ใช้จะต้องพิมพ์ประโยคที่มีความแม่นยำหรือตรงกับข้อมูลที่เราได้สอนบอทไว้มากเท่านั้น

ตัวอย่าง Default Message คือ Sorry I don't understand และ ค่า Default Confident เท่ากับ 65%


Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Search Intent สำหรับค้นหา Intent, Phrase, Response ที่ต้องการตั้งค่า

  1. Sort สำหรับจัดเรียง Intent ตามรูปลำดับตัวอักษร a-z หรือความเก่า-ใหม่

  2. Default Fallback แสดงข้อความทั้งหมดของผู้ใช้ ที่บอทไม่เข้าใจเมื่อ ข้อความนั้น มีค่าความมั่นใจ (Confident) ต่ำกว่าที่ตั้งค่าไว้

Entity

คือ กลุ่มคำต่างๆที่จัดอยู่ในหมวดเดียวกัน หรือเป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน (โดย feature Entity จะนำไปใช้ใน Object Dialogue)

a. New Entities ปุ่มสำหรับสร้างชุด Entities

b. Entities Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Entities

c. คลิกปุ่ม (+Add Phrase)

d. Confident ช่องสำหรับตั้งค่าความมั่นใจของ Entities

เคล็ดลับ: สามารถลบข้อมูลใน Trained ได้ด้วยการคลิกที่ข้อความ Phrase ที่ต้องการลบและกดปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

เคล็ดลับ: สามารถลบ Entities ได้ด้วยการกดติ๊กถูกที่ช่องหน้าชื่อ Entities จากนั้น ระบบจะแสดงปุ่มลบ ขึ้นมาให้กดที่ปุ่ม กดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ หรือสามารถเลือกลบ Entities ทั้งหมดพร้อมกันได้ด้วยการติ๊กถูกที่ช่อง All จากนั้นกดที่ปุ่ม Delete เพื่อทำการลบ

Dialogue

โดยปกติทั่วไปแชทบอทจะตอบคำถามแบบ 1:1 (ถาม-ตอบ) แต่ Dialogueเป็นรูปแบบคำตอบอีกอย่างหนึ่ง ที่สามารถตอบกลับเป็นบทสนทนาต่อเนื่องได้


ซึ่งเราสามารถทั้งกำหนดรูปแบบของคำถาม-คำตอบ และเส้นทางในบทสนทนานั้นๆได้

และยังสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นคำตอบของ User เพื่อเอาไปใช้ในการเชื่อมต่อระบบอื่นๆได้อีกด้วย


ส่วนประกอบของหน้า Object (Dialogue Flow)

หน้า Object Dialogue มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่มหน้าสร้าง Dialogue

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Dialogue (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ dialogue

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข dialogue (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก dialogue (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ dialogue

ส่วนประกอบหน้าสร้าง dialogue

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

ส่วนประกอบของ Node

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

Command ช่องสำหรับเอาไว้ใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบสามารถใส่ได้ทั้ง Text, Object

  • Duplicate (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้คัดลอก Command

  • Delete (ไอคอนรูปถังขยะ) เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้ลบ Command

  • Enter message ช่องสำหรับใส่ข้อความที่ต้องการให้บอทตอบ สามารถใส่ได้ทั้ง อีโมจิ, parameter <..>, Object

  • Parameter <..> ฟังก์ชั่นนี้มีไว้สำหรับการเก็บค่าและแสดงค่าของตัวแปร โดย Use parameter เป็นการนำค่าตัวแปรมาแสดง ส่วน Add parameter คือการเก็บค่าของตัวแปร

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

  1. Object Name ช่องสำหรับตั้งชื่อ Dialogue

  2. Zoom In ปุ่มสำหรับขยายมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายบวก)

  3. Zoom Out ปุ่มสำหรับย่อมุมมองพื้นที่การทำงาน (ไอคอนรูปแว่นขยายลบ)

  4. Home ปุ่มสำหรับกลับมาจุดเริ่มต้นของ flow (ไอคอนรูปบ้าน)

  5. Save ปุ่มสำหรับบันทึก Dialogue


ส่วนประกอบของ Node

Node คือ การบอกลำดับของกล่องข้อความที่บอทจะตอบกลับผู้ใช้ โดยกล่องข้อความจะไล่ลำดับตั้งแต่ 1 ขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ

การสร้างตัวแปรปกติจะออกมาแบบรูปด้านซ้ายโดยจะมีเครื่องหมาย <ชื่อตัวแปร> ครอบชื่อตัวแปรเอาไว้

การกำหนดค่าตัวแปรให้เราแก้ไขข้อความให้เป็นรูปแบบด้านขวาตามรูป โดยจะมีรูปแบบ <!ชื่อตัวแปร|ค่าของตัวแปร!>


Formular Parametor การนำตัวแปรมาใส่สูตรคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร

เราสามารถนำค่าตัวแปรของเรามาทำการคำนวณได้ โดยตามรูป ตัวอย่าง จะเห็นรูปแบบของการเขียนสูตร <!ชื่อตัวแปร|<$<<ชื่อตัวแปร>>/<<ชื่อตัวแปร>>$>!>

ในตัวอย่างจะเป็นการ เอาค่าในตัวแปร tall มาหารกับ ค่าในตัวแปร weight เพื่อเก็บค่าลงตัวแปร sum <!........|....!> = การกำหนดค่าให้ตัวแปร <$……$> = การเรียกใช้ฟังชั่นคำนวณใน formular


Add more command สามารถเพิ่มจำนวน Command ได้

เคล็ดลับ: Command list ที่เพิ่มมาจะตอบข้อความในกรณีที่ user ตอบมาไม่ตรงเงื่อนไขที่ตั้ง ไว้และยังอยู่ใน Flow conversation

- If the response dosen’t match any ช่องสำหรับข้อความที่บอทจะตอบกลับไปในกรณีที่ user ตอบไม่ตรงเงื่อนไขและจบการสนทนา หรือ ออกจาก Flow conversation

- Setting มีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่วน ดังนี้

  1. Set start point สำหรับกำหนดจุดเริ่มต้นของ flow ว่าให้เริ่มทำงานจาก Node ไหน

  2. Duplicate สำหรับคัดลอก node

  3. Time out สำหรับตั้งค่า flow เมื่อผู้ใช้ไม่ตอบในเวลาที่กำหนด

  4. Remove สำหรับลบ node

- Next step สามารถเพิ่มหรือเชื่อมต่อไปยัง Condition ถัดไปเพื่อสร้างเงื่อนไขให้บอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ สามารถกำหนดเงื่อนไขได้ 4 แบบ ได้แก่

  1. Entities

  2. Intent

  3. RegEx

  4. Match


ส่วนประกอบของ Condition

Condition ส่วนสำหรับสร้างหรือกำหนดเงื่อนไขให้แชทบอทสามารถทำงานในสเต็บถัดไปได้ ตามที่เราตั้งค่าไว้

Entities สำหรับกำหนดเงื่อนไขด้วย คำ, ประโยค หรือกลุ่มคำ หากผู้ใช้พิมพ์ข้อความด้วยคำที่ตรงกับที่เรากำหนดไว้ แชทบอทจึงจะสามารถไปยังสเต็บถัดไปได้

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Entities ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอน รูปโกดัง หรือสามารถพิมพ์ข้อความลงไปในช่อง Select Entities or Enter Phrase ได้ และยังสามารถบันทึกเป็น Entities ใหม่ได้ ด้วยการกดที่ปุ่ม Save Entities ก็จะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมา ให้ใส่ชื่อ, ปรับ condition และ กดปุ่ม save ก็จะเป็นการบันทึกไว้ใช้งานได้ในครั้งหน้าอีก

  1. Intent การจับเจตนาของคำหรือประโยคของผู้ใช้ ตามที่ได้ train ไว้ก่อนหน้านี้ ในหน้า Train Bot

การใช้งาน สามารถเลือกจาก Intent ที่เราสร้างเอาไว้แล้วมาใช้ โดยกดที่ไอคอนรูปโกดัง

  1. RegEx Regular Expressions คือ การกำหนดรูปแบบหรือกลุ่มคำ เพื่อเอาไว้ใช้ค้นหาข้อความต่างๆตามที่เราต้องการ สามารถค้นหาได้ทั้งอักขระธรรมดา หรือค้นหาความข้อที่กำหนดไว้ หรือจะเป็นอักขระพิเศษก็สามารถค้นหาได้ สมมติ เราต้องการให้ user ตอบเป็นตัวเลข เช่น เบอร์โทรศัพท์, รหัสประจำตัวประชาชน

การใช้งาน สามารถเลือกรูปแบบของ RegEx ได้จากลิสต์รายการที่เราเตรียมไว้ให้ หรือ
Character รับข้อความที่เป็นตัวอักษรทั้งหมด
Email รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบอีเมล
Phone Number รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบเบอร์โทร
License plate รับข้อความที่เขียนเป็นรูปแบบป้ายทะเบียนรถ
Date Format รับข้อความที่เขียนด้วยรูปแบบวันที่
Custom สามารถเขียนหรือกำหนด RegEx ได้เอง


  1. Match คือ การกำหนดเงื่อนไข โดยอิงจากจำนวนค่าที่เก็บไว้ของของพารามิเตอร์นั้น ว่าถ้าเท่ากับหรือมากกว่าน้อยกว่า จำนวนค่าที่เราระบุไว้ จะให้เกิดเหตุการณ์ต่อๆไปในโฟลวที่เราสร้าง

<> ช่องสำหรับระบุชื่อของพารามิเตอร์ลงในช่องนี้

  • ช่องกลาง สำหรับให้เราเลือกเครื่องหมาย ว่าค่าในพารามิเตอร์ของเรามีค่าแบบไหน ดังนี้ =, !=, <, >, <=, >=

  • Value number ช่องสำหรับให้เราใส่ค่าของพารามิเตอร์นั้น เป็นตัวเลข

Image (IMG)

Image (IMG) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของรูปภาพ

ส่วนประกอบของหน้า Image

หน้า Object Image มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Image

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Image (ไอคอนรูปถังขยะ)

  1. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Image

  1. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Image (ไอคอนรูปดินสอ)

  1. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Image (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  1. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Image

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Image

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Image

  2. URL ช่องสำหรับใส่ลิงค์เว็บของรูปที่อยกนำมาใช้ ต้องเป็น https

  3. Upload ช่องสำหรับอัพโหลดรูปภาพจากคอมพิวเตอร์เข้าไปเก็บไว้ในระบบ

คำแนะนำและข้อจำกัดของ Image

a. แนะนำ size : 900*900px

b. ขั้นต่ำ : 450*450px

Button (BTN)

Button (BTN) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของปุ่มกดซึ่งเมื่อคลิกไปที่ Button แล้ว ปุ่มจะยังคงอยู่


ส่วนประกอบของหน้า Button

หน้า Object Button มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่


  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Button

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Button (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Button

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Button (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Button (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Button

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Button

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Button

  2. Enter title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Button

  3. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Button เพิ่มได้ 3 ปุ่ม

a. Button Label สำหรับตั้งชื่อปุ่มกด

b. Button Type สำปรับเลือกชนิดปุ่มกด มี 3 แบบ
1. Message สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นข้อความธรรมดา
2. Phone สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นเบอร์โทรศัพท์
3. URL สำหรับสร้างปุ่มที่เป็นลิงค์ของเว็บไซต์

c. Message สำหรับใส่ข้อความที่จะให้บอทตอบออกไป จะต่างไปตามประเภทปุ่มกดที่เราเลือก


คำแนะนำและข้อจำกัด Button

  1. หัวข้อ : สูงสุด 160 ตัวอักษร

  2. เพิ่มปุ่มกดได้มากสุด: 3 ปุ่ม

  3. ชนิดของปุ่ม : มี 3 แบบ (ข้อความ , เบอร์โทรศัพท์ , URL)

  4. ชื่อปุ่มกด : สูงสุด 20 ตัวอักษร

Quick Reply (QRP)

Quick Reply (QRP) คือ การตอบกลับของบอทในรูปแบบของ Choice ซึ่งเป็นปุ่มกดโดยเมื่อ คลิกไปที่ปุ่มใดปุ่มหนึ่งแล้ว Quick Reply จะหายไป


ส่วนประกอบของหน้า Quick Reply

หน้า Object Quick Reply มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Quick Reply

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Quick Reply (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Quick Reply

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Quick Reply (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Quick Reply (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Quick Reply

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Quick Reply

a. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Quick Reply

b. Enter quick reply title ช่องสำหรับใส่ชื่อหัวข้อของ Quick Reply

c. Add button ช่องสำหรับเพิ่มปุ่มกดให้ Quick Reply เพิ่มได้ 13 ปุ่ม

Flex Message (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระ โดยใน Flex message จะสามารถ บรรจุได้ทั้ง button, icon, image, text และอื่นๆ รวมถึงสามารถสร้าง action จาก button, image และ text ได้

เคล็ดลับ: Object รูปแบบ Flex จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Flex

หน้า Object Flex มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Flex

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Flex (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Flex

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Flex (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Flex (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Flex

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Flex

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Flex

คำแนะนำและข้อจำกัด Flex

Custom Payload (FX)

คือ รูปแบบการตอบคำถาม ที่สามารถออกแบบได้อย่างอิสระเช่นกัน

ส่วนประกอบของหน้า Custom Payload

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Custom Payload

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Custom Payload (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Custom Payload

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Custom Payload (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Custom Payload (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Custom Payload

ส่วนประกอบหน้าสร้าง Custom Payload

  1. Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Custom Payload

  2. Dropdown สำหรับเลือกชนิดของ Custom Payload ว่าเป็นของ LINE หรือ Facebook

  3. Field พื้นที่ว่างสำหรับวางโค้ด json ของ Custom Payload

คำแนะนำและข้อจำกัด Custom Payload

Rich Menu (RM)

แถบเมนูลัดที่แป้นพิมพ์ในห้องแชท สามารถตั้งค่าการตอบกลับเมื่อเลือกที่ ริชเมนู ได้ตามความต้องการโดยที่จะเป็น Link web Text หรือ Intent ต่างๆ

เคล็ดลับ: Rich Menu จะรองรับการแสดงผลเฉพาะบนไลน์เท่านั้น

ส่วนประกอบของหน้า Rich Menu

หน้า Object Rich Menu มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม Rich Menu

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ Rich Menu (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ Rich Menu

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข Rich Menu (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก Rich Menu (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ Rich Menu

ส่วนประกอบของหน้า Create Rich Menu

Object Name ช่องสำหรับใส่ชื่อของ Object Rich Menu

  1. Select Type สำหรับเลือกชนิดของ Rich menu ว่าเป็นขนาดเล็กหรือใหญ่

  2. Columns เพิ่มคอลัมน์สำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  3. Rows เพิ่มแถวสำหรับกำหนดตำแหน่งใน Rich menu

  4. Rich Menu Image พื้นที่สำหรับอัพโหลดรูปของ Rich menu

  5. Setting สำหรับตั้งค่าการทำงานของ Rich menu

    • Set as main rich menu ตั้งเป็น Rich menu หลักเมื่อเปิดไลน์

    • Set as auto show ตั้งให้แสดง Rich menu ทันทีเมื่อเปิดไลน์

  6. Click Action สำหรับกำหนดการทำงานของของ Rich menu แต่ละตำแหน่งใน คอลัมน์และแถว ที่สร้างไว้ โดยกำหนดการทำงานทั้งหมดได้ 4 แบบ

    • Text ส่งเป็นข้อความเมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • URL เปิดเว็บไชต์เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • Object แสดงผลเป็น Object เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

    • Intent แสดงผลเป็นคำตอบจาก Intent เมื่อผู้ใช้กดไปยังพื้นที่ที่กำหนด

คำแนะนำและข้อจำกัด Rich Menu

  1. รองรับไฟล์: png, jpg, jpeg

  2. ขนาดไฟล์: ไม่เกิน 1 MB

  3. ขนาดรูปที่รองรับ: 2500x1686, 2500x843, 1200x810, 1200x405, 800x540, 800x270 px

เว็บไซต์สำหรับสร้าง Rich menu: https://lineforbusiness.com/richmenumaker/

Dashboard

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้ โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า API

หน้า Object Custom Payload มีส่วนประกอบหลัก 6 ส่วน ได้แก่

  1. Add ปุ่มสำหรับเพิ่ม API

  2. Delete ปุ่มสำหรับลบ API (ไอคอนรูปถังขยะ)

  3. Import/Export ปุ่มสำหรับนำเข้า นำออกไฟล์ API

  4. Edit ปุ่มสำหรับนำแก้ไข API (ไอคอนรูปดินสอ)

  5. Duplicate ปุ่มสำหรับคัดลอก API (ไอคอนรูปกระดาษซ้อนกัน)

  6. Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อ API

ส่วนประกอบหน้าสร้าง API

ส่วนประกอบหน้าสร้าง API

a. Header ช่องสำหรับใส่ค่า Header

b. Value ช่องสำหรับใส่ค่า Value

Livechat

หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอจัดการกับแชทจากผู้ใช้

โดยสามารถแทรกการสนทนาระหว่างบอทกับผู้ใช้ได้ตลอดเวลา

ส่วนประกอบของหน้า Live Chat

Bot/Agent สามารถกดสลับเพื่อดูข้อความที่เข้ามา

  • Bot เป็นข้อความที่ผู้ใช้คุยกับบอทในขณะนี้

  • Agent เป็นข้อความที่ติดสถานะ Agent เนื่องจากผู้ใช้ต้องการคุยกับจ้าหน้าที่

Search ช่องสำหรับค้นหาชื่อของผู้ใช้

Filter ส่วนสำหรับตั้งค่าคัดกรองข้อความ ประกอบไปด้วย

  • Channel ส่วนสำหรับกรองให้แสดงประเภทข้อความว่ามาจากช่องทางไหน

  • Message Status สำหรับกรองให้แสดงข้อความว่าเป็นประเภทไหน

    1. All เลือกแสดงข้อความจากผู้ใช้ทั้งหมด

    2. Read เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่อ่านแล้ว

    3. Unread เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ยังไม่ได้อ่านแล้ว

    4. Block เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกบล็อค

  • Tag เลือกแสดงเฉพาะข้อความจากผู้ใช้ที่ถูกติดแท็กที่เลือก

Inbox Message รายการข้อความที่ผู้ใช้กำลังสนทนา โดยจะมีรายละเอียดดังนี้

  • Profile Picture ส่วนที่ไฮไลต์สีส้มเป็นส่วนแสดงรูปโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Profile Name ส่วนที่ไฮไลต์สีเทาเป็นส่วนแสดงชื่อโปรไฟล์ของผู้ใช้

  • Message ส่วนแสดงข้อความจากผู้ใช้ ตัวอักษรหน้าคือข้อความที่ยังไม่ได้อ่านตัวอักษรบางคือข้อความที่อ่านแล้ว

  • Red Dot จุดสีแดงแสดงว่าเป็นข้อความมาใหม่และยังไม่ได้อ่าน

Window Message ช่องแสดงรายละเอียดการสนทนา และสามารถตอบโต้กับผู้ใช้ได้ ข้อความด้านซ้ายจะเป็นข้อความจากฝั่งผู้ใช้ ส่วนทางด้านขวาจะเป็นข้อความจากฝั่งบอทและเจ้าหน้าที่

เคล็ดลับ: เมื่อเจ้าหน้าที่คุยกับผู้ใช้โดยตรง จะแสดงปุ่ม Done ขึ้นมา ซึ่งเป็นปุ่มไว้สำหรับให้เจ้าหน้าที่กด เมื่อจบการสนทนากับผู้ใช้แล้ว จะส่งผู้ใช้กลับไปคุยกับแชทบอทตามเดิม

  • Search ช่องสำหรับค้นหาข้อความเก่าๆที่เคยสนทนาได้

  • Sent สถานะในการส่งข้อความ
    1. / ขีดเดียวคือกำลังส่ง
    2. // สองขีดคือส่งเรียบร้อย

  • Send a message ช่องสำหรับเขียนข้อความ
    1. Image สามารถเลือก รูปภาพจากคอมพิวเตอร์เพื่อส่งได้
    2. Intent&Object สามารถเลือก object และ intent จากคลังสือเพื่อส่งได้
    3. Send ปุ่มสำหรับกดส่งข้อความ
    4. Send and train เมื่อติ๊กที่ช่องนี้ เวลาที่กดปุ่ม Send ข้อความจะถูกสอนลงไปในส่วนของ Trained ใน Chitchat

Right Channel ช่องแสดงรายละเอียดต่างๆเกียวกับผู้ใช้ สามารถเพิ่ม tag,note, หรือแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ได้ และสามารถสลับโหมดเป็นให้เจ้าหน้าที่ตอบหรือสลับกลับไปเป็นแชทบอทตอบได้อีกด้วย

  • Profile Name ส่วนบนสุดจะแสดงชื่อโปรไล์ของผู้ใช้

  • Status ส่วนนี้แสดงสถนะว่าอยู่ในโหมดไหน ซึ่งสามารถกดสลับไปมาระหว่างให้แชทบอทโหมด หรือเจ้าหน้าที่โหมดได้

  • Profile ส่วนสำหรับแสดงข้อมูลของผู้ใช้ เจ้าหน้าที่สามารถแก้ไขข้อมูลตรงส่วนนี้ได้โดยกดที่ไอคอนรูปดินสอขวาบน

  • Tag สามารถเพิ่มแท็ก เป็นติดป้ายหรือสถานะ ให้กับผู้ใช้ได้ โดยกดไปที่ปุ่ม Add

. เมื่อกด Add จะแสดงหน้าต่างขึ้นมา สามารถพิมพ์ชื่อแท็กเพื่อเพิ่มลงไปได้ที่ช่อง Find or Create a new tag แล้วกด Add เมื่อติ๊กที่แท็ก จะเป็นสีฟ้า แปลว่าติดแท็กเรียบร้อย ส่วนแท็กที่ไม่ได้เลือกจะเป็นสีขาว

. Note สามารถเพิ่มบันทึกข้อความลงไปได้ โดยบันทึกจะมีรายละเอียด ชื่อของผู้บันทึก แลัวันที่บันทึกแสดงไว้

เมื่อกดคลิกที่บันทึกที่บันทึกไว้ จะสามารถแก้ไขหรือลบบันทึกได้

  • Image แสดงรูปภาพที่ผู้ใช้เคยส่งเข้ามา

Live Chat Setting

สำหรับตั้งค่าการทำงานต่างๆของ Live Chat ได้เพิ่มเติม



Switch To Agent สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังเจ้าหน้าที่โหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to an agent mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอทด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถุกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

  2. Switch to an agent mode when the bot reply Default Fallback สามารถใส่ จำนวนครั้งเอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาหาบอท แล้วบอทตอบกลับผู้ใช้ไปด้วย Response ของ Default Fallbak ที่ตั้งไว้ ครบจำนวนครั้งเมื่อไหร่ ผู้ใช้จะถูกสลับมาเป็นเจ้าหน้าที่โหมดทันที

Switch To Bot สามารถตั้งค่าให้สลับไปยังแชทบอทโหมด เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่ตั้งค่าไว้

  1. Switch to bot mode by these Intent สามารถใส่ Intent เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ทักมาในขณะที่ติดอยู่ในเจ้าหน้าที่โหมดด้วยข้อความ Phrase ที่ถูกสอนเอาไว้ใน Intent นั้น ผู้ใช้จะถูกสลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมดทันที

  2. Switch to an bot mode affter agent reply last message สามารถกำหนดเวลาที่จะให้ผู้ใช้สลับกลับมาเป็นแชทบอทโหมด เมื่อเจ้าหน้าที่ส่งข้อความสุดท้ายออกไปภายหลังจากเวลาที่กำหนด

Business Hours สามารถกำหนดการทำงานได้ว่าจะให้เกิดอะไรเมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน สามารถให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไปได้ หรือส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

  1. Out of business hours mode กำหนดการทำงานของแชทบอทในช่วงนอกเวลาทำการ

    1. Configure buisness hours ในส่วนนี้ใช้สำหรับตั้งช่วงเวลาและวันเปิดทำการของคุณเอาไว้ สามารถกด Add more เพื่อเพิ่มช่วงเวลาและวันเปิดทำการได้

    2. Take this action ในส่วนนี้เป็นส่วนกำหนดการทำงานของแชทบอทว่าจะให้ทำยังไง เมื่อผู้ใช้ทักมาขอติดต่อเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำงาน
      1.1) Switch to Bot ให้สลับไปยังแชทบอทโหมดเพื่อให้สนทนากับบอทต่อไป
      1.2) Hold the Agent ส่งไปที่เจ้าหน้าที่โหมด เพื่อรอเจ้าหน้าที่มาตอบในวันถัดไปได้

    3. Send this message กำหนดข้อความที่จะให้ตอบกลับไปได้

  2. Email notification สามารถเพิ่มผู้รับอีเมล เมื่อมีการทักมาหา เจ้าหน้าที่นอกเวลาทำการ โดยจะมีข้อความจากผู้ใช้ส่งไปที่อีเมล

Setting


หน้าสำหรับให้ผู้ดูแลบอทคอยจัดการการตั้งค่าต่างๆ เช่นโปรไฟล์

แชทบอท, การเชื่อมต่อ, การแชร์สิทธิ์การเข้าถึง เป็นต้น

a. My account สำหรับออกจากระบบ

a. Chatbot Profile หน้าสำหรับจัดการตั้งค่าข้อมูลโปรไฟล์ของแชทบอท

a. Edit chatbot profile สามารถกดเพื่อแก้ไขข้อมูลโปรไฟล์ของ

แชทบอท

b.Delete chatbot สามารถกดเพื่อลบแชทบอท

a. Connection สามารถกดเพื่อเชื่อมต่อแชทบอทเข้ากับแชลแนลต่าง ไลน์และเฟสบุ๊ค ได้

a. Facebook messenger สามารถกดที่ Messenger setting เพื่อ

ทำการเชื่อมต่อกับเฟสบุ๊ค Page ของเราได้ทัน

b.LINE สามารถเลือกเชื่อมต่อได้ 2 วิธี คือ

a. LINE modular setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA

แบบง่ายไม่ยุ่งยาก

b. LINE manual setting สามารถเชื่อมต่อเข้ากับไลน์ OA ใน

แบบที่ยุ่งยากกว่า

เคล็ดลับ: การเชื่อมต่อแบบ LINE manual setting จะสามารถทำการตั้งค่าใช้งาน Rich menu แบบสลับได้ ถ้าเป็นการเชื่อมต่อแบบ LINE modular setting จะไม่สามารถทำได้

เคล็ดลับ: เมื่อเชื่อมต่อสำเร็จไฟจะเป็นสีเขียวดังตัวอย่างในรูปด้านบน และจะแสดงคำว่า Connected

เคล็ดลับ: ปุ่มสไลด์ด้านขวา จะเป็นปุ่มที่มีไว้สำหรับ เปิด-ปิด แชทบอท เมื่อปิดปุ่มจะเป็นสีเทาและแชทบอทจะไม่ตอบข้อความ เมื่อเปิดปุ่มจะเป็นสีฟ้าและแชทบอทจะตอบข้อความตามปกติ

a. Shared permissions แสดงรายชื่อของผู้ใช้งานที่เราแชร์บอทให้สามารถเข้ามาทำงานร่วมกันได้

a. Edit สามารถกดเพื่อแก้ไขสิทธ์การเข้าถึงส่วนต่างๆ ของผู้ใช้งาน

(ไอคอนรูปดินสอ)

b.Delete สามารถกดเพื่อลบผู้ใช้ที่เราแชร์สิทธิ์ได้ (ไอคอนถังขยะ)

c.Add new user สามารถกดเพื่อเพิ่มผู้ใช้งานให้สามารถเข้ามา

ทำงานร่วมกันได้

เคล็ดลับ: ไอคอนสีฟ้า หมายความว่าผู้ใช้ตอบรับการแชร์บอทของเราและสมัครเข้าสู่ระบบเพื่อเข้ามาใช้งานเรียบร้อยแล้ว

a. Enter email ช่องสำหรับใส่อีเมลให้กับคนที่เราต้องการแชร์แชทบอท

b. Permission สามารถกำหนดได้ว่าต้องการให้คนที่เราแชร์แชทบอท เข้าใช้งานในส่วนไหนได้โดยเฉพาะ